อัปเดตทักษะแห่งอนาคตที่องค์กรต้องการภายในปี 2030
อัปเดตทักษะแห่งอนาคตที่องค์กรต้องการภายในปี 2030
Business
4 นาที
20 ม.ค. 2025
แชร์ 


แชร์
Table of contents
ล่าสุดทาง World Economic Forum (WEF) ได้ออกรายงาน ‘Future of Jobs Report 2025’ จากการสำรวจนายจ้าง 1,000 จาก 22 กลุ่มอุตสาหกรรม ใน 55 ประเทศ ซึ่งเทรนด์ในปีนี้ได้ทำให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงของตลาดแรงงาน รวมถึงเทรนด์ทักษะที่จะถูกให้ความสำคัญเรื่อย ๆ ภายในปี 2030
ภายในปี 2030 ตลาดแรงงานจะเกิดการเปลี่ยนแปลงมากมาย โดยคาดการณ์ว่า…
⭐1. Analytical thinking ทักษะการคิดเชิงวิเคราะห์
⭐2. Resilience, flexibility and agility ทักษะที่เกี่ยวกับความยืดหยุ่น และความคล่องตัว
⭐3. Leadership and social influence ทักษะผู้นำ และการมีอิทธิพลต่อสังคม
⭐4. Creative thinking ทักษะด้านความคิดสร้างสรรค์
⭐5. Motivation and self-awareness ทักษะการสร้างแรงจูงใจ และการตระหนักรู้ในตนเอง
⭐6. Technological literacy องค์ความรู้ด้านเทคโนโลยี
⭐7. Empathy and active listening ทักษะความเห็นอกเห็นใจ และการฟังอย่างตั้งใจ
⭐8. Curiosity and lifelong learning ทักษะความสงสัยใคร่รู้ และการเรียนรู้ตลอดชีวิต
⭐9. Talent management ทักษะการบริหารจัดการคนเก่ง
⭐10. Service orientation and customer service ทักษะการบริการลูกค้า
⭐11. AI and big data ทักษะด้านปัญญาประดิษฐ์ และบิ๊กดาต้า
⭐12. Systems thinking ทักษะการคิดเชิงระบบ
⭐13. Resource management and operations ทักษะการบริหารจัดการทรัพยากร
⭐14. Dependability and attention to detailทักษะการสร้างความน่าเชื่อถือ และใส่ใจในรายละเอียด
⭐15. Quality control ทักษะการควบคุมคุณภาพ
จะสังเกตได้เลยว่า 5 อันดับแรกมีทักษะที่ผสมผสานกันอยู่ทั้งในเชิงทักษะการคิด การบริหารจัดการตัวเอง และการสร้างสัมพันธ์กับผู้อื่น แสดงให้เห็นว่าองค์กรมากมายต่างกำลังมองหาคนที่มีความคิดสร้างสรรค์ มีความยืดหยุ่น และสามารถสร้างทีมเวิร์คมากขึ้น ซึ่งเป็นองค์กรประกอบที่นายจ้างเองก็มองว่ามีความสำคัญต่อความสำเร็จขององค์กร
ทั้งนี้ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่าทักษะที่เกี่ยวข้องกับ AI ยังคงมาแรงอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในประเทศไทย ทักษะทักษะด้าน AI และ Big Data ทักษะการคิดเชิงวิเคราะห์ ทักษะการคิดอย่างสร้างสรรค์ นำมาเป็นอันดับต้น ๆ เลย
ทีนี้มาดูกันว่าภายใน 5 ปีข้างหน้านี้ (2025-2030) จะมีทักษะที่จะถูกใช้เพิ่มขึ้น และทักษะที่นายจ้างมองว่าจะถูกให้ความสำคัญลดลงบ้าง รวมถึงกลุ่มอาชีพดาวรุ่งพุ่งแรง และดาวร่วงดวงตกที่ต้องจับตา
🔼ทักษะที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีคาดว่าจะมีความสำคัญเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วมากกว่าทักษะประเภทอื่น ๆ โดยเฉพาะทักษะที่เกี่ยวข้องกับ AI และ Big data จะมาแรงสุด ๆ
🔼ทักษะที่เกี่ยวข้องกับเรื่องความคิดสร้างสรรค์ และการพัฒนาตัวเองก็มาแรงไม่แพ้กัน อาทิ Creative thinking, Curiosity and lifelong learning เป็นต้น
🔼ทักษะที่เกี่ยวข้องกับความเป็นผู้นำยังคงถูกให้ความสำคัญ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการบริหารจัดการ หรือการสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้คน อย่าง Talent Management, Leadership and social influence เป็นต้น
ทักษะที่ถูกให้ความสำคัญลดลง
🔽ทักษะการอ่าน การเขียน และคณิตศาสตร์จะลดลงเล็กน้อย
🔽ทักษะที่เกี่ยวข้องในเชิงกายภาพ ที่มีความ Manual มีแนวโน้มลดลงอย่างชัดเจน อาทิ ความแม่นยำ ความเที่ยงตรง ก็จะถูกให้ความสำคัญลดลง
5 อับดับอาชีพดาวรุ่ง น่าจับตา!
1. Big Data Specialists ผู้เชี่ยวชาญด้านข้อมูลขนาดใหญ่
2. FinTech Engineers วิศวกรด้านฟินเทค
3. AI and Machine Learning Specialists ผู้เชี่ยวชาญด้านปัญญาประดิษฐ์
4. Software and Applications Developers นักพัฒนาซอฟแวร์และแอปพลิเคชัน
5. Security Management Specialists ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการความปลอดภัย
5 อับดับอาชีพดาวร่วง ที่โตช้าลง
1. Postal Service Clerks คนทำงานไปรษณีย์
2. Bank Tellers and Related Clerks พนักงานธนาคาร และตำแหน่งงานที่เกี่ยวข้อง
3. Data Entry Clerks พนักงานบันทึกข้อมูล
4. Cashiers and Ticket Clerks คนขายตั๋วและคนเก็บเงิน
5. Administrative Assistants and Executive Secretaries ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ธุรการ และเลขานุการบริหาร
จากภาพรวมของการขึ้นลงในกลุ่มอาชีพนั้นก็ได้รับผลจากการเติบโตของเทคโนโลยีและ AI นั่นแหละ บวกกับประชากรวัยทำงานที่อายุมากขึ้น การเติบโตทางเศรษฐกิจที่ช้าลงก็มีส่วนทำให้ตำแหน่งเสมียนที่ทำงานฝั่งธนาคารก็ลดลงเช่นกัน
ทั้งนี้เมื่อองค์กรมีคนสำคัญในมือแล้ว ก็ต้องคอยบริหาร และดูแลรักษาคนเหล่านี้เอาไว้ให้ดี ซึ่งการสนับสนุนสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดีของพนักงานจะถูกยกมาเป็นความสำคัญอันดับต้น ๆ ในการบริหารทรัพยากรบุคคลหลังจากนี้ด้วยเช่นเดียวกัน
📊 สำหรับใครที่สนใจอยากดูรายงานฉบับเต็ม สามารถดาวน์โหลด PDF ได้ที่ https://www.weforum.org/publications/the-future-of-jobs-report-2025/digest/
ภายในปี 2030 ตลาดแรงงานจะเกิดการเปลี่ยนแปลงมากมาย โดยคาดการณ์ว่า…
- จะเกิดการสร้างงานใหม่ 170 ล้านตำแหน่ง หรือประมาณ 14% ของงานในปัจจุบัน
- รูปแบบการทำงานที่เป็นมนุษย์ทำคนเดียวจะลดลงจาก 44% เหลือเพียง 29%
- จะมีการเพิ่มสัดส่วนของการทำงานร่วมกันระหว่างมนุษย์และเทคโนโลยีมากขึ้นแทน (Human-Machine Collaboration)
‘Analytical thinking’ สุดยอดทักษะที่องค์กร 7 ใน 10 มองว่าคนทำงานจำเป็นต้องมี
หนึ่งส่วนที่น่าสนใจของรายงานฉบับนี้ที่อยากยกให้ทุกคนดูกัน คือเรื่องการเติบโตของทักษะในอนาคต ที่องค์กรมองว่าจำเป็น รวมถึงทักษะที่อาจถูกให้ความสำคัญน้อยลงกว่าเดิม โดย 39% ของนายจ้างคาดว่าทักษะสำคัญที่จำเป็นในตลาดงานจะเปลี่ยนไปภายในปี 2030
15 อันดับทักษะจำเป็น (Core Skills) ที่องค์กรมองหาจากคนทำงาน ภายในปี 2030

15 อันดับทักษะจำเป็น (Core Skills) ภายในปี 2030
⭐1. Analytical thinking ทักษะการคิดเชิงวิเคราะห์
⭐2. Resilience, flexibility and agility ทักษะที่เกี่ยวกับความยืดหยุ่น และความคล่องตัว
⭐3. Leadership and social influence ทักษะผู้นำ และการมีอิทธิพลต่อสังคม
⭐4. Creative thinking ทักษะด้านความคิดสร้างสรรค์
⭐5. Motivation and self-awareness ทักษะการสร้างแรงจูงใจ และการตระหนักรู้ในตนเอง
⭐6. Technological literacy องค์ความรู้ด้านเทคโนโลยี
⭐7. Empathy and active listening ทักษะความเห็นอกเห็นใจ และการฟังอย่างตั้งใจ
⭐8. Curiosity and lifelong learning ทักษะความสงสัยใคร่รู้ และการเรียนรู้ตลอดชีวิต
⭐9. Talent management ทักษะการบริหารจัดการคนเก่ง
⭐10. Service orientation and customer service ทักษะการบริการลูกค้า
⭐11. AI and big data ทักษะด้านปัญญาประดิษฐ์ และบิ๊กดาต้า
⭐12. Systems thinking ทักษะการคิดเชิงระบบ
⭐13. Resource management and operations ทักษะการบริหารจัดการทรัพยากร
⭐14. Dependability and attention to detailทักษะการสร้างความน่าเชื่อถือ และใส่ใจในรายละเอียด
⭐15. Quality control ทักษะการควบคุมคุณภาพ
จะสังเกตได้เลยว่า 5 อันดับแรกมีทักษะที่ผสมผสานกันอยู่ทั้งในเชิงทักษะการคิด การบริหารจัดการตัวเอง และการสร้างสัมพันธ์กับผู้อื่น แสดงให้เห็นว่าองค์กรมากมายต่างกำลังมองหาคนที่มีความคิดสร้างสรรค์ มีความยืดหยุ่น และสามารถสร้างทีมเวิร์คมากขึ้น ซึ่งเป็นองค์กรประกอบที่นายจ้างเองก็มองว่ามีความสำคัญต่อความสำเร็จขององค์กร
ทั้งนี้ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่าทักษะที่เกี่ยวข้องกับ AI ยังคงมาแรงอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในประเทศไทย ทักษะทักษะด้าน AI และ Big Data ทักษะการคิดเชิงวิเคราะห์ ทักษะการคิดอย่างสร้างสรรค์ นำมาเป็นอันดับต้น ๆ เลย
ทีนี้มาดูกันว่าภายใน 5 ปีข้างหน้านี้ (2025-2030) จะมีทักษะที่จะถูกใช้เพิ่มขึ้น และทักษะที่นายจ้างมองว่าจะถูกให้ความสำคัญลดลงบ้าง รวมถึงกลุ่มอาชีพดาวรุ่งพุ่งแรง และดาวร่วงดวงตกที่ต้องจับตา
ทักษะที่จะถูกใช้เพิ่มขึ้น-ลดลง ภายใน 5 ปีข้างหน้า
ทักษะที่จะถูกใช้เพิ่มขึ้น🔼ทักษะที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีคาดว่าจะมีความสำคัญเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วมากกว่าทักษะประเภทอื่น ๆ โดยเฉพาะทักษะที่เกี่ยวข้องกับ AI และ Big data จะมาแรงสุด ๆ
🔼ทักษะที่เกี่ยวข้องกับเรื่องความคิดสร้างสรรค์ และการพัฒนาตัวเองก็มาแรงไม่แพ้กัน อาทิ Creative thinking, Curiosity and lifelong learning เป็นต้น
🔼ทักษะที่เกี่ยวข้องกับความเป็นผู้นำยังคงถูกให้ความสำคัญ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการบริหารจัดการ หรือการสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้คน อย่าง Talent Management, Leadership and social influence เป็นต้น
ทักษะที่ถูกให้ความสำคัญลดลง
🔽ทักษะการอ่าน การเขียน และคณิตศาสตร์จะลดลงเล็กน้อย
🔽ทักษะที่เกี่ยวข้องในเชิงกายภาพ ที่มีความ Manual มีแนวโน้มลดลงอย่างชัดเจน อาทิ ความแม่นยำ ความเที่ยงตรง ก็จะถูกให้ความสำคัญลดลง
ตำแหน่งงาน ดาวรุ่ง-ดาวร่วง ที่น่าจับตาในช่วง 5 ปีนี้ (2025-2030)
จากความต้องการของทักษะที่เปลี่ยนแปลงในอนาคต นำมาสู่ ‘ตำแหน่งงาน’ ที่จะอันดับความฮอตที่เปลี่ยนไปด้วยเช่นเดียวกัน มาดูกันว่าจากทักษะที่ถูกให้ความสำคัญมากขึ้น และลดลงนั้น นำมาสู่การเปลี่ยนแปลงดาวรุ่ง และดาวร่วงของอาชีพในช่วง 5 ปีนี้อย่างไรบ้าง

ตำแหน่งงาน ดาวรุ่ง-ดาวร่วง ที่น่าจับตาในช่วง 5 ปีนี้ (2025-2030)
5 อับดับอาชีพดาวรุ่ง น่าจับตา!
1. Big Data Specialists ผู้เชี่ยวชาญด้านข้อมูลขนาดใหญ่
2. FinTech Engineers วิศวกรด้านฟินเทค
3. AI and Machine Learning Specialists ผู้เชี่ยวชาญด้านปัญญาประดิษฐ์
4. Software and Applications Developers นักพัฒนาซอฟแวร์และแอปพลิเคชัน
5. Security Management Specialists ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการความปลอดภัย
5 อับดับอาชีพดาวร่วง ที่โตช้าลง
1. Postal Service Clerks คนทำงานไปรษณีย์
2. Bank Tellers and Related Clerks พนักงานธนาคาร และตำแหน่งงานที่เกี่ยวข้อง
3. Data Entry Clerks พนักงานบันทึกข้อมูล
4. Cashiers and Ticket Clerks คนขายตั๋วและคนเก็บเงิน
5. Administrative Assistants and Executive Secretaries ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ธุรการ และเลขานุการบริหาร
จากภาพรวมของการขึ้นลงในกลุ่มอาชีพนั้นก็ได้รับผลจากการเติบโตของเทคโนโลยีและ AI นั่นแหละ บวกกับประชากรวัยทำงานที่อายุมากขึ้น การเติบโตทางเศรษฐกิจที่ช้าลงก็มีส่วนทำให้ตำแหน่งเสมียนที่ทำงานฝั่งธนาคารก็ลดลงเช่นกัน
องค์กรมีแผนเรื่อง ‘คน’ สำหรับอนาคตอย่างไร ?
- 85% ขององค์กรจะให้ความสำคัญเรื่องการเพิ่มทักษะ (Upskill) มาเป็นอันดับแรก ๆ
- 73% ขององค์กรจะปรับใช้ระบบอัตโนมัติในการทำงานหลังจากนี้ ซึ่งลดลงจาก 80% ตามที่ระบุไว้ในรายงานฉบับปี 2023
- 63% ขององค์กรจะเสริมทัพ และสนับสนุนการทำงานคนด้วยเทคโนโลยีใหม่ ๆ
- 70% ขององค์กรวางแผนจะจ้างคนทำงานที่มีความพร้อมด้านทักษะใหม่ ๆ ที่เป็นที่ต้องการ
- 41% ขององค์กรมีแผนจะลดจำนวนคนลง โดยคัดคนที่มีทักษะที่ไม่จำเป็นอีกต่อไปออก
ทั้งนี้เมื่อองค์กรมีคนสำคัญในมือแล้ว ก็ต้องคอยบริหาร และดูแลรักษาคนเหล่านี้เอาไว้ให้ดี ซึ่งการสนับสนุนสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดีของพนักงานจะถูกยกมาเป็นความสำคัญอันดับต้น ๆ ในการบริหารทรัพยากรบุคคลหลังจากนี้ด้วยเช่นเดียวกัน

แผนเรื่อง ‘คน’ สำหรับองค์กร ปี 2025-2030
📊 สำหรับใครที่สนใจอยากดูรายงานฉบับเต็ม สามารถดาวน์โหลด PDF ได้ที่ https://www.weforum.org/publications/the-future-of-jobs-report-2025/digest/